IRPC Annual Report 2023

IRPC Journey: เส้นทางสู่การเป็นองค์กรต้นแบบด้านสิทธิิมนุ ชน บริษััท ไออาร์ี ซี จำ �กัด (มหาชน) 2562 ประกาศเจตนารมณ์สร้างความรู้ความเข้าใจพื้นฐาน • ประกาศนโยบายด้านสิทธิมนุษยชน ตามหลักการ UNGPs เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติสำ �หรับบริษัทกลุ่มไออาร์พีซี • สร้างความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องสิทธิมนุษยชนให้แก่ผู้บริหาร พนักงาน • สร้างเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน โดยบริษัทฯ เป็น 1 ในสมาชิกผู้ร่วมก่อตั้ง GCNT 2563 นำ �หลักการสู่การปฏิบัติสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ตลอดห่วงโซ่อุปทาน • คณะกรรมการกำ �กับดูแลกิจการที่ดี มอบนโยบายการให้ความสำ �คัญ และส่งเสริมการดำ �เนินงานด้านสิทธิมนุษยชนอย่างจริงจังและ ต่อเนื่อง พร้อมขยายเครือข่ายความร่วมมือตลอดห่วงโซ่อุปทาน • ทบทวน ปรับปรุง แก้ไข นโยบาย คู่มือต่างๆ ให้สอดรับหลักการ ด้านสิทธิมนุษยชน • สร้างความตระหนักรู้ และความสำ �คัญในการดำ �เนินงานด้านสิทธิ มนุษยชนให้แก่ผู้บริหาร พนักงาน รวมถึงขยายไปยังผู้มีส่วนได้เสีย อาทิ คู่ค้า ลูกค้า • สร้างเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนร่วมกับ GCNT โดยบริษัทฯ เข้าร่วม เป็นคณะอนุกรรมการด้านสิทธิมนุษยชนและแรงงานของ GCNT 2564 ยกระดับการดำ �เนินงานด้านสิทธิมนุษยชนสู่สากล และประยุกต์ใช้นวัตกรรม • ประกาศ Vision “To Shape Material and Energy Solutions in Harmony with Life” • ปรับปรุงนโยบายสิทธิมนุษยชน และนโยบายที่เกี่ยวข้อง ให้สอดรับกับ แผนปฏิบัติการระดับชาติ ว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน และหลักสากล • ประกาศนโยบายส่งเสริมความหลากหลายและยอมรับความแตกต่าง • นำ �หลัก Circular Economy ต่อยอดโครงการขาเทียม • นำ �นวัตกรรมของบริษัทฯ ช่วยเหลือเกษตรกรผ่านโครงการ Smart Farming • ต่อยอดองค์ความรู้ และพัฒนานวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์การแพทย์ • สร้างความแข็งแกร่งของภาคีธุรกิจเพื่อความยั่งยืน โดยความร่วมมือด้านต่างๆ • สร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เด็กชายขอบ และสร้างแรงงานมาตรฐานฝีมือผ่าน วิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พีซี 2565 2566 ขยายผล สร้างเครือข่าย เพื่อสร้างคุณค่าให้แก่สังคม • จัดตั้ง Human Right Agents เพื่อดูแล Stakeholders ได้อย่างใกล้ชิด • รับการตรวจประเมินจาก 3rd Party Accessor • ยกระดับแนวทางปฏิบัติอย่างยั่งยืนของคู่ค้า โดยเพิ่มการประเมิน ด้านสิทธิมนุษยชนอย่างเข้มข้นในหัวข้อคู่มือการปฏิบัติงาน • ประเมิน ESG ของคู่ค้า ผู้รับเหมา และการพัฒนาผู้ตรวจประเมิน • ประเมินมาตรฐานฮาลาลของคู่ค้า • ปรับปรุงระเบียบการร้องเรียนและแจ้งเบาะแส โดยบูรณาการ GRC • สร้างเครือข่ายต่างๆ เช่น - GCNT และกลุ่มพันธมิตร โดยเข้าร่วมเป็นอนุกรรมการด้านสิทธิมนุษยชน และแรงงาน - ร่วมขับเคลื่อนการจัดตั้ง “สถาบันธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน” GCNT ยกระดับระบบการประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนผ่านระบบออนไลน์ • รับการตรวจประเมินจาก 3rd Party Accessor • พัฒนาระบบ Human Right Impact Self-assessment Platform และระบบการติดตามตรวจสอบมาตรการป้องกันผลกระทบฯ - UN Women ส่งเสริมศักยภาพและความเท่าเทียมกันของสตรีผ่าน การประกวดรางวัล UN Women Awards 2022 • บูรณาการนวัตกรรมเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของมนุษย์ ชุมชน และสังคม เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีผ่านโครงการต่างๆ ดังนี้ - IRPC Smart Farming - Silver Nano for Lumpy Skin - ซิงค์ออกไซด์นาโน สำ �หรับเกษตรกร - ขาเทียม “พลาสติกนวัตกรรมเพื่อคนพิการ” - ผลิตกายอุปกรณ์เสริมจากพลาสติกรีไซเคิล - Carpenter Project (มือ/นิ้วเทียม) - วิสาหกิจเพื่อสังคม “วชิรแล็บ” 160 การขัับเคลื่่� อนธุุรกิจเพื่่� อความยั่่� ง น บริษััท ไออาร์ี ซีี จำ �กัด (มหาชน)

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=