IRPC Annual Report 2023

กระทบต่อผู้้� มีส่วนได้เสี จากปัจจัยต่างๆ ทั่วโลกในปัจจุบัน ทำ �ให้อุตสาหกรรมน้ำ �มัน ต้องประสบกับภาวะพลวัตเชิงบวกและลบไปพร้อมกัน เนื่องจาก ต้องเผชิญหน้ากับความท้าทายมากมายแต่ในขณะเดียวกันก็มี โอกาสแฝงอยู่ในนั้น เศรษฐกิจโลกที่กลับมาเติบโตอีกครั้งทำ �ให้ ความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์จากการกลั่นน้ำ �มันพุ่งสูงขึ้น ส่งผลให้ อุตสาหกรรมการผลิตน้ำ �มันมีแนวโน้มเติบโตอย่างสดใส อย่างไรก็ดี ความต้องการที่เพิ่มขึ้นสูงย่อมส่งผลให้มีความจำ �เป็นในการเพิ่มขีด ความสามารถในการผลิต ซึ่งเป็นแรงกดดันต่อความสามารถ ในการฟื้นตัวตลอดห่วงโซ่คุณค่า และประสิทธิภาพการบริหาร กิจกรรมในการดำ �เนินงาน กระตุ้นให้โรงกลั่นหาคำ �ตอบด้าน นวัฒกรรม เพื่อตอบสนองความต้องการด้านพลังงานที่กำ �ลังเติบโต ในขณะเดียวกัน ภาคอุตสาหกรรมน้ำ �มันยังต้องรับมือกับมาตรการ การดูแลสิ่งแวดล้อมที่ทวีความเข้มงวดมากขึ้น และมุ่งเน้นส่งเสริม การสร้างนวัตกรรมเพื่อผลิตสินค้าและกระบวนการที่มีความยั่งยืน เพื่อแก้ไขผลกระทบเชิงลบจากกิจกรรมหลักของธุรกิจ ซึ่งหมาย รวมถึงการขุดเจาะ การกลั่นน้ำ �มันดิบ ตลอดจนการแปรรูป ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ซึ่งมีการปล่อยมลภาวะ ก่อให้เกิดขยะ และ ส่งผลกระทบต่างๆ ตลอดห่วงโซ่คุณค่าทั้งจากบริษัทฯ และคู่ค้า ซึ่งอาจดำ �เนินการผลิตในลักษณะที่ขาดความยั่งยืน ทำ �ให้เกิด ผลกระทบเชิงลบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม บริษัทฯ ตระหนักดีถึง ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการดำ �เนินธุรกิจของเรา จึงมีความมุ่งมั่น ในการที่จะป้องกันและแก้ไขปัญหาต่างๆ เพื่อส่งเสริมอนาคต ที่ยั่งยืน บริษัทฯ เล็งเห็นความสำ �คัญของการสร้างนวัตกรรม ซึ่ง เป็นจุดเปลี่ยนและทำ �ให้บริษัทฯ พร้อมเผชิญกับทุกโอกาสและ ความท้าทายได้อย่างแข็งแกร่ง ดังนั้น บริษัทฯ จึงใช้นวัตกรรม เป็นเครื่องมือหลักในการสร้างความสำ �เร็จตามเป้าหมาย อีกทั้ง ส่งเสริมความยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม ซึ่งรวมถึงประเด็นทางด้านสิทธิมนุษยชน การมุ่งเน้นกลยุทธ์ นวัตกรรม มีเป้าหมายเพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจและความยั่งยืน ให้กับองค์กร นอกจากนี้ยังเป็นการนำ �เสนอ สินค้า บริการ และ แนวทางแก้ไขปัญหาที่สามารถตอบสนองความต้องการของ ผู้มีส่วนได้เสีย พัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน ดูแลสิ่งแวดล้อม และ สร้างสังคมที่ดีขึ้นโดยองค์รวม แนวการบริหารจัดการ เพื่อเป็นการเน้นย้ำ �ความมุ่งมั่นในการสร้างความเป็นเลิศ ด้านนวัตกรรม ไออาร์พีซีวางแผนบริหารจัดการด้านนวัตกรรม ภายใต้การกำ �กับดูแลของคณะกรรมการบริหารจัดการนวัตกรรม การบริหารจัดการนวัตกรรมของบริษัทฯ ถูกกำ �กับดูแลโดย คณะกรรมการบริหารจัดการนวัตกรรม (Innovation Management Committee, IMC) ซึ่งมีรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ พาณิชยกิจ และการตลาดเป็นประธาน โดยมีผู้บริหารหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ ได้แก่ ปฏิบัติการผลิต กลยุทธ์ แผนและ พัฒนาธุรกิจองค์กร ศูนย์นวัตกรรมไออาร์พีซี พาณิชยกิจและ การตลาด และบัญชีและการเงิน โดยมีหน้าที่ความรับผิดชอบ ในการกำ �กับดูแลนวัตกรรมของบริษัทฯ ทั้งในแง่ของนโยบาย กระบวนการ และการจัดสรรทรัพยากร เพื่อการเติบโตของ บริษัทฯ อย่างยั่งยืน ศูนย์นวัตกรรมไออาร์พีซีดำ �เนินงานภายใต้วิสัยทัศน์ “การเป็น ศูนย์กลางความเป็นเลิศทางด้านนวัตกรรมการใช้วัสดุและพลังงาน เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืน (To be center of excellence in material and energy solutions to expedite sustainable growth)” โดย เน้นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางด้านวัสดุขั้นสูง (Advanced Materials) สุขภาพและการแพทย์ (Health & Life Science) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Business) พลังงานทางเลือก (Future Energy) และระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage) ผ่านกลยุทธ์ “การทำ �งานร่วมกันอย่างเข้มข้นกับพันธมิตรทั้งในและ นอกองค์กรเพื่อเร่งผลิตภัณฑ์นวัตกรรมให้ออกสู่ตลาดเชิงพาณิชย์ (Extensive collaboration (“IN/OUT”) with partnership to speed-up products commercialization)” 119 การขัับเคลื่่� อนธุุรกิจเพื่่� อความยั่่� ง น แบบแสดงรา การข้้อมู ประจำ �ปี/ รา งานประจำ �ปี 2566 (แบบ 56-1 One Report)

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=